“แนวคิดเชิงคำนวณ” ชื่ออังกฤษ “Computational Thinking (CT)” คำๆ นี้ ต่อไปเด็กไทยจะได้เรียนรู้ก
สำหรับแนวคิดเชิงคำนวณ มีไว้เพื่อใช้แก้ปัญหาในแวด
เมื่อถึงตรงนี้หลายคนอาจไม่คุ้นหูคำนี้เท่
าไรนัก มันคืออะไรเนี่ย แนวคิดเชิงคำนวณ?
จริงๆ แล้วมันไม่ใช่เรื่องแปลกใหม
นิยามของ Computational Thinking หรือแนวคิดเชิงคำนวณ มันมีหลายนิยามนะ แต่ทั้งนี้ทั้งนั้น แนวคิดนี้จะประกอบด้วยแนวคิ
1) Decomposition
2) Pattern recognition
3) Algorithm
4) Abstract thinking
มานั่งไล่ดูแต่ละความคิด ว่าคืออะไรกันดีกว่า
1) Decomposition ชื่อไทยคือ “การแยกส่วนประกอบ และการย่อยปัญหา”
Decomposition เป็นการพิจารณาเพื่อแบ่งปัญ
พูดง่ายๆ เอาปัญหามาแยกย่อยออกเป็นส่
?ตัวอย่างการนำแนวคิดนี้ไปใช
เช่น การเขียนโปรแกรมแยกเป็นส่วน
?ตัวอย่างการนำไปใช้นอกจากเข
-เราจะเรียนรู้ว่าจักรยานทำ
-เราจะเดินทางไปเที่ยวหาดให
– จักรยานคันหนึ่ง ถ้าเราจะศึกษามันก็จะมองได้ว่า ประกอบไปด้วย ล้อ แฮนด์ โครงจักรยาน ระบบขับเคลื่อน หรืออื่นๆ ถ้ามองในรายละเอียดของล้อจักรยานจะเห็นว่าประกอบด้วย ยางล้อ วงล้อ และซี่ลวด เป็นต้น
-รัฐบาลจะปฏิรูปประเทศไทย ก็จะนำปัญหาประเทศมาแยกย่อย
2) Pattern recognition ชื่อไทยคือ “การหารูปแบบ”
Pattern recognition เป็นทักษะการหาความสัมพันธ์
?ตัวอย่างการนำแนวคิดนี้ไปใช
เมื่อมีการทำงานของโปรแกรมท
?ตัวอย่างการนำไปใช้นอกจากเข
– จัดหมวดหมู่สัตว์ที่คล้ายคลึงกัน ให้อยู่ในสปีชีส์เดียวกัน เพื่อให้ง่ายต่อการศึกษา
– หาพฤติกรรมการบริโภคของคน ว่านิยมซื้ออะไร ช่วงเวลาไหน มีรูปแบบพฤติกรรมซ้ำๆ อะไรบ้าง
– ลองดูตัวอย่างจากรูปข้างล่าง แล้วให้ลองระบุสิ่งของที่เหมือนหรือแตกต่างกัน
3) Algorithm ชื่อไทย “ขั้นตอนวิธี”
Algorithm คือลำดับขั้นตอนในการแก้ปัญ
?ตัวอย่างการนำแนวคิดนี้ไปใช
สำหรับคนเขียนโปรแกรม คงรู้จักกันดีไม่ต้องอธิบาย
-จะคำนวณหาพื้นที่เส้นรอบวง
-จะค้นหาข้อมูลแบบ binary search ต้องมีขั้นตอน 1,2,3 อย่างไรบ้าง
-จะหาเส้นทางที่ใกล้สุดในกร
?ตัวอย่างการนำไปใช้นอกจากเข
-จะวางแผนจีบสาว มีขั้นตอนอย่างไร?
-จะไปเที่ยวเขาใหญ่ ต้องวางแผนว่าในแต่ละวันทำอ
-จะเต้นเพลงคุกกี้เสี่ยงทาย
คลิปวีดีโอข้างบนเป็นของช่อง?Active Dance?สอนเต้นเพลง “คุกกี้เสี่ยงทาย” ซึ่งจะมีสเตปยกมือ ยกเท้า เคลื่อนไหวร่างกาย …พอเพลงเริ่มบรรเลงเราก็เต้นตามขั้นตอน ซึ่งก็คือ?Algorithm?แต่ใช้ในโลกร้องเพลง
4) Abstract thinking ชือไทย “การคิดเชิงนามธรรม”
Abstract thinking เป็นกระบวนการคัดแยกคุณลักษ
?ตัวอย่างการนำแนวคิดนี้ไปใช
-จากโจทย์ปัญหาเขียนโปรแกรม
-ถ้าเราจะส่งข้อมูลข้าม network แล้วเขียนโปรแกรมหาระยะทางส
วิธีคิดก็จะสกัดรายละเอียดส
?ตัวอย่างการนำไปใช้นอกจากเข
– เราจะดูแผนที่ประเทศไทย เพื่อเที่ยวภาคเหนือ ถ้าดูเต็มรูปแบบ จะยุ่งยาก งงตาลาย มีหลายเส้นทางเยอะไปหมด แต่เราสามารถแก้ปัญหา โดยตัดรายละเอียดส่วนเกินทิ้ง เอาสถานที่และเส้นทางที่สำค
ลองนึกถึงตัวอย่าง เวลาเราดูภาพเส้นทางรถไฟฟ้า BTS จาก Google map?ข้างล่าง เพื่อใช้เดินทาง ก็อาจตาลายเพราะมีรายละเอียดที่ไม่จำเป็นเกินมา รกสายตาย เช่น เส้นทางถนน อาคาร สถานที่ วัดวาอาราม ฯลฯ
ด้วยวิธีคิดแบบ?Abstract thinking เราตัดรายละเอียดที่ไม่จำเป็นทิ้ง เลือกเอาสิ่งที่สนใจคือเส้นทางเดินรถ BTS เท่านั้น แล้วนำมาวาดรูปใหม่ได้ดังรูปข้างล่าง
หรือตัวอย่างวงจรไฟฟ้าในรูปข้างล่าง ถ้าคิดแบบ?Abstract thinking เราก็จะตัดรายละเอียดที่ไม่จำเป็นทิ้ง แล้ววาดใหม่เป็นสัญลักษณ์วงจรไฟฟ้า ก็จะทำให้การคำนวณทางไฟฟ้าง่ายขึ้น
วิทยาการคำนวณ
ถึงตรงนี้จะเห็นว่าแนวคิดเชิงคำนวณ ไม่ใช่แค่แก้ปัญหาเวลาเจอโจ
เพราะเหตุผลนี้เอง ในระดับชั้นประถม มัธยม เขาจะได้ปูพื้นฐานแนวคิดนี้
ขณะเดียวกัน “แนวคิดเชิงคำนวณ” ผู้ใหญ่รู้ไว้ก็ไม่เสียหายอ
ขออธิบายเพิ่มเกี่ยวกับวิทยาการคำนวณ มันเป็นวิชาที่ปรับหลักสูตรมาจากวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ??เนื้อหาจะครอบคลุมวิชาเหล่านี้ในระดับพื้นฐาน ได้แก่
- วิทยาการคอมพิวเตอร์ (Computer Science: CS)
- เทคโนโลยสารสนเทศและการสื่อสาร (Information Communication Technology: ICT)
- การรู้ดิจิทัล (Digital Literacy: DL)
ซึ่งหัวใจของวิชานี้คือ พื้นฐานการคิดเชิงคำนวณ (computational thinking) ที่มี 4 องค์ประกอบสำคัญดังที่กล่าวมาแล้วข้างต้น
- Decomposition (การแยกส่วนประกอบ และการย่อยปัญหา)
- Pattern recognition (การหารูปแบบ)
- Algorithm (ขั้นตอนวิธี)
- Abstract thinking (การคิดเชิงนามธรรม)
เขียนโดย แอดมินโฮ โอน้อยออก